ฝึงการฟัง เรียนภาษาญี่ปุ่นกับ J-Campus

Inu no omawarisan
อ่าน 46,973 ครั้ง

เรียนไวยากรณ์จากเพลง

1. ても

เป็นคำเชื่อม (接続語) เกิดจากการผสมคำระหว่างคำว่า 「て」 ซึ่งเป็นคำช่วยเชื่อม (接続助詞 ) กับคำว่า 「も」 ซึ่งเป็นคำช่วยเกี่ยวเนื่อง ซึ่งอาจเปลี่ยนรูปจาก 「ても」 เป็น 「でも」 โดยขึ้นอยู่กับคำที่นำไปใช้ร่วมด้วยก็ได้
ในบทเรียนนี้ คำว่า ても เป็นการเชื่อมเหตุการณ์ที่ขัดแย้งกัน คือ

แต่ทั้งนี้ ซึ่งประโยคหรือวลีข้างหลัง ไม่จำเป็นต้องอยู่ในรูปปฏิเสธก็ได้ เช่น

2. ばかり

เป็นคำช่วยวิเศษณ์ (副助詞) ทำหน้าที่แสดงความหมายจำกัดขอบเขตเฉพาะเรื่องนั้นเรื่องเดียว เช่นเดียวกับคำว่า だけ หรือ のみ

คำว่า ばかり ในบทเรียนนี้ เป็นการใช้ร่วมกับคำกริยาที่ผันอยู่ในรูป te form (~て หรือ ~で) คือ

หรือประโยคตัวอย่างอื่น เช่น

3. しまう

เป็นคำกริยา (動詞) ซึ่งสามารถใช้ในลักษณะของคำกริยาช่วย (補助動詞) โดยใช้ต่อท้ายคำกริยาคำอื่น ที่ผันอยู่ในรูป te form (~て หรือ ~で) เพื่อแสดงความหมายย้ำว่าการกระทำนั้นได้จบสิ้นลงแล้ว หรือการกระทำนั้นเกิดขึ้นอย่างไม่ตรงตามที่ปรารถนา หรือกลายเป็นเรื่องที่ยุ่งยากลำบาก

ในภาษาพูด สำนวน 「~てしまう」 อ่านเปลี่ยนรูปเป็น 「~ちまう」 หรือ 「~ちゃう」 ก็ได้

คำว่า ~てしまう ในบทเรียน คือ

หรือประโยคตัวอย่างอื่น เช่น

pageviews 499,629